Sunday, June 8, 2008

THE ETHICS OF ENCOUNTER 1.08



The Ethics of Encounter
Contemporary Art from India and Thailand

Ranbir Kaleka
Vidya Kamat
Manjunath Kamath
Sudsiri Pui-Ock
Navin Rawanchaikul
Pinaree Sanpitak
Rirkrit Tiravanija
Chintan Upadhyay


Curated by Pandit Chanrochanakit with Brian Curtin
Gallery Soulflower, Basement Level, Silom Galleria, Bangkok
16 August – 27 September 2008.

Opening Reception and Book Launch:
Saturday, 16 August 2008, from 6.30pm
RSVP: Ms. Rung +662 630 0032


Pinaree Sanpitak will host a special event titled 'Breaking the Ice' for the opening reception.


Gallery Soulflower is delighted to announce an ambitious and provocative showcase of some of the best contemporary art from India and Thailand. A book detailing the work of the artists and the critical issues raised by their juxtaposition will be launched simultaneously.

India and Thailand have a long history of exchange and integration, yet both countries retain a strong sense of autonomy. This dichotomy between mutual influence and issues of authentic individuality is highlighted in our global age. On the one hand, we are told that trans-national circuits are more pervasive than ever but, on the other, we are regularly made aware of often violent expressions of cultural integrity and national identity.

The Ethics of Encounter stages a relationship between Thailand and India in terms of a seemingly simple but nevertheless complex claim: one should not expect an 'other' to perform the way one expects. The question "Who am I?" in terms of cultural and national identity becomes heightened when one is faced with who we think we are not. However, rather than addressing issues of 'Thai-ness' and 'Indian-ness', curator Pandit Chanrochanakit with critic Brian Curtin seek to present this particular encounter as a means of challenging and subverting broader expectations of cultural and national differences. Questions of translation, transference and transformation may be extrapolated to the contemporary contexts of globalism and internationalism. How do we define what is different from 'us' in the current era?

The Ethics of Encounter showcases a variety of media and methods, from video and painting to performance and relational aesthetics. In keeping with Gallery Soulflower's concern to engage the best of contemporary art in the region, the artists included range from the internationally celebrated to the locally lauded and the emergent.


The Ethics of Encounter จริยธรรมแห่งการพบพาน

งานแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยจากศิลปินอินเดีย และ ศิลปินไทย

รันบีร์ คาเลคา

วิเดีย กามัส

มัญชุ นาท กามัท

สุดสิริ ปุยอ๊อก

นาวิน ลาวัลย์ชัยกุล

พินรี สัณหพิทักษ์

ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช

ชินทัน อุปัดทัย

โดย ดร. บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ ร่วมด้วย ดร. ไบรอัน เคอร์ติน,

ณ แกลเลอรี่ โซลฟลาวเวอร์, ชั้นใต้ดิน, สีลมแกลเลอเรีย, กรุงเทพมหานคร

ระหว่าง 16 สิงหาคม - 27 กันยายน 2551

ขอเชิญแขกผู้มีเกียรติร่วมเปิดนิทรรศการ

ใน วันเสาร์ที่ 16 สิงหาคม 2551

คุณ พินรี สัณหพิทักษ์ ร่วมเป็นแขกรับเชิญพิเศษเปิดงานแสดงชุด

"Breaking The Ice"


แกลเลอรี่ โซลฟลาวเวอร์ ภูมิใจเสนอผลงานศิลปกรรมร่วมสมัยที่จะกระตุ้นแรงปรารถนาและ

ความทะเยอทะยานอย่างแรงกล้าด้านวัฒนธรรมกับการพบพาน ในงานแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยชิ้นเยี่ยม โดยศิลปินชื่อดังของอินเดียและไทย ในงานครั้งนี้ศิลปินได้สื่อถึงความพยายามปลดปล่อย ขับเคลื่อนความคิด ความรู้สึกและจิตวิญญาณของการถ่ายทอดออกสู่สังคม

อินเดียและไทย มีความสัมพันธ์ยาวนานทางประวัติศาสตร์ เกิดการแลกเปลี่ยนและถูกผนึกเชื่อมต่อให้เป็นส่วนเดียวกัน โดยทั้งสองประเทศยังคงไว้ซึ่งความเป็นอิสระทางความคิด นี่คือการผสมผสาน ระหว่างวัฒนธรรมและความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของศิลปิน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างสีสันให้โลกของเรา และเรานำเสนอวัฏฏะของการแลกเปลี่ยนทางอารยธรรมที่แทรกซึมอยู่ในทั้งสองประเทศซึ่งไม่สามารถแยกออกจากกันได้ อีกด้านหนึ่งก็ธำรงความแตกต่างของแก่นสารทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของชาติไว้ด้วยกัน

นิทรรศการ "จริยธรรมของการพบพาน" เป็นเวทีแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างไทยและอินเดีย ที่มีความเกี่ยวข้องในวิถีอันเรียบง่ายและงดงาม แต่ถึงกระนั้นก็ตาม
ยังมีการทับซ้อนทางความคิดว่า เมื่อคนคนหนึ่งเกิดคาดหวังในสิ่งที่เขาเป็น: คำถามคือ
"แล้วฉันคือใคร?" ภายใต้เงื่อนไขทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของชาติเป็นสิ่งที่สูงค่า
แต่เมื่อเผชิญหน้ากับสิ่งนั้นแล้ว บางทีอาจไม่ได้เป็นอย่างที่เราคิดเอาไว้ก็ได้ อย่างไรก็ตาม
การพบกันใน "ความเป็นไทย" และ "ความเป็นอินเดีย" ก็ไม่น่าจะเป็นสิ่งที่เกินเอื้อมในนิทรรศการครั้งนี้

ดร. บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ ทำหน้าที่ภัณฑารักษ์ ร่วมด้วย ดร. ไบรอัน เคอร์ติน นำเสนอ

นิทรรศการเฉพาะกิจที่ท้าทายกำแพงแห่งเชื้อชาติและวัฒนธรรม เพื่อทดลองเสนอว่าบางทีอาจไม่มีบทสรุปที่แน่ชัดในนิยามของคำว่าร่วมสมัย เพราะมีการถ่ายทอดและเปลี่ยนระหว่างอารยธรรมจนกลายเป็นวัฒนธรรมสากลไปแล้ว เรายังจะชี้ชัดลงไปได้หรือไม่ว่า สิ่งใดที่เป็นอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ "ของเรา" อยู่ทุกวันนี้ ?

นิทรรศการ " จริยธรรมแห่งการพบพาน " ได้รวบรวมงานศิลปกรรมหลากหลายสื่อ
และรูปแบบ, สื่อวิดิทัศน์, งานจิตรกรรม, สื่อผสม, จนถึงนาฏลีลาของการแสดง
แกลเลอรี่ โซลฟลาวเวอร์ หวังใจว่าจะนิทรรศการครั้งนี้เป็นงานแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยที่น่าสนใจที่สุดแห่งหนึ่งในพื้นภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เราได้รับเกียรติจากศิลปินชาวไทยและอินเดียที่มีผลงานปรากฏและมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางมาร่วมแสดงงานในครั้งนี้

Wednesday, June 4, 2008

Tuesday, June 3, 2008

opening SURFACE TO ORIGIN 2008








SURFACE TO ORIGIN 2008



EXHIBITION AND BOOK LAUNCH AT GALLERY SOULFLOWER, BANGKOK

AT 6:30PM ,14TH MARCH

From Surface to Origin: Journeys Through Recent Art From India and Thailand

Pinaree Sanpitak Biju Joze George Martin PJ
Nipan Oranniwesna Be Takerng Pattanopas Benitha Perciyal K
March 14 – April 12 2008
Gallery Soulflower is delighted to announce our first major exhibition of both Thai and Indian contemporary artists. A book featuring some of the most high profile artists from both countries will be launched in conjunction. Brian Curtin is the curator of the exhibition and editor of the book. From Surface to Origin: Journeys Through Recent Art From India And Thailand explores questions of process for visual art. From the practice of preliminary studies through to autobiographical self-reflection and the means of creative development, this showcase brings the viewer on a journey through the physical, emotional and conceptual trajectories of contemporary art production. To look should be to examine. To move beyond appearances into the material and immaterial substance of the object, be it painting, photography or sculpture. Central to this engagement is an understanding of the artist: their training, personal preoccupations, approaches and cultural background. A book of the same title provides a broader critical context for the concerns of From Surface to Origin through writing by some of the best critics of contemporary art from Asia.
นิทรรศการและหนังสือ ที่หอศิลป์โซลฟลาวเวอร์ (GALLERY SOULFLOWER) กรุงเทพฯ From Surface to Origin: Journeys Through Recent Art From India and Thailand สืบผล สู่ต้น: ท่องวิถีศิลปะร่วมสมัย จากอินเดียและไทย พินรี สัณฑ์พิทักษ์ บิจู โจซ จอร์จ มาร์ติน พีจี นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์ เถกิง พัฒโนภาษ เบนิธา เพอร์เซียล เค 14 มีนาคม - 12 เมษายน 2551
หอศิลป์โซลฟลาวเวอร์ ภูมิใจเสนอนิทรรศการศิลปะครั้งสำคัญ ซึ่งเป็นครั้งแรก ที่ศิลปินร่วมสมัยจากไทยและอินเดีย จะแสดงงานร่วมกัน. พร้อมกันนี้ หอศิลป์โซลฟลาวเวอร์ จะเปิดตัวหนังสือ From Surface to Origin ซึ่งรวบรวมผลงานของศิลปินร่วมสมัยคนสำคัญจากทั้งสองประเทศ. ดร. ไบรอัน เคอร์ติน จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำหน้าที่เป็น ทั้ง curator ของนิทรรศการ และ บรรณาธิการของหนังสือนี้. นิทรรศการ From Surface to Origin: Journeys Through Recent Art From India And Thailand (สืบผล สู่ต้น: ท่องวิถีศิลปะร่วมสมัย จากอินเดียและไทย) นำเสนอศิลปะร่วมสมัยเพื่อสำรวจกระบวนการทางทัศนศิลป์. จากจุดเริ่มที่ศิลปิน"ร่าง"งานศิลปะ (sketch) เพื่อ"ศึกษา" ไปจนถึงการใช้ศิลปะสะท้อนตัวตนประหนึ่งเป็นอัตตชีวประวัติของศิลปิน และกระบวนการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละคน, นิทรรศการนี้จะพาผู้ชมร่วมเดินทางสู่ประสบการณ์ ทางกายภาพ, ทางอารมณ์ และความหมาย ในงานศิลปะร่วมสมัย. เราควรมองเพ่งเพื่อสำรวจตรวจสอบ. เราเราควรพินิจทะลุเลยเปลือกของรูปลักษณ์ ล่วงสู่วัตถุสภาวะและอวัตถุสภาวะ อันจะนำไปสู่สารัตถะของงานศิลปะ ทั้งที่เป็นจิตรกรรม ภาพถ่าย หรือ ประติมากรรม. ประเด็นหลักของนิทรรศการนี้ อยู่ที่การเข้าถึง ศิลปิน(และศิลปะ) ผ่านกระบวนการฝึกฝน, ประเด็นที่แต่ละคนหมกมุ่น, ไปจนถึงวิถีเฉพาะตน, รวมทั้งภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน. ส่วนหนังสือชื่อเดียวกับนิทรรศการ จะช่วยกำหนดบริบทเพื่อวิพากษ์ประเด็นว่าด้วย From Surface to Origin (สืบจากผล สู่ต้นกำเนิด) ผ่านบทสังเคราะห์โดยบรรดานักวิจารณ์ศิลปะเรืองนาม ซึ่งล้วนเชี่ยวชาญด้านศิลปะร่วมสมัยจากเอเชีย. หอศิลป์โซลฟลาวเวอร์ ห้อง Art space ชั้น B1 สีลม แกลเลอเรีย สีลม ซอย 19 กรุงเทพ 10500 สอบถามข้อมูลได้ที่ คุณนาตาชา หรือ คุณรุ้ง โทร (+66) 2-630-0032 มือถือ 0860821573 อีเมล์ info@gallerysoulflower.com เว็บไซต์ www.gallerysoulflower.com เปิดให้เข้าชมทุกวันจันทร์ - วันเสาร์ 11.00-19.00 น. (ปิดวันอาทิตย์)